วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ การออกแบบและพัฒนาชุดแผ่นกรองน้ำมันงาดำสำหรับเครื่องกรองสุญญากาศ กรณีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยเสี้ยว ตำบลบ้านปง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนนำสินค้าเกษตรปลอดภัยสู่ตลาดออนไลน์ กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนหน่อไม้ฝรั่งและพืชผักตามฤดูกาล ตำบลสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒน... >> อ่านต่อ
วันที่ 19 มกราคม พศ. 2565 ว่าที่ ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ บุคลากรสังกัดสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน เป็นตัวแทนคณะทำงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) มหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การบริหารจัดการโครงการ U2T เครือข่ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนบน 8 มหาวิทยาลัย เวลา 14.00 - 15.30 น. ในรูปแบบประชุมออนไลน์ผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) และ facebook Live ( >> อ่านต่อ
วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมกิจกรรมเสวนา เวทีถอดบทเรียนโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ U2T เครือข่ายอุดมศึกษาระดับภูมิภาค ภาคเหนือตอนบน (Regional System Integator: RSI) ในหัวข้อ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เติมเต็มสิ่งที่ขาด พัฒนาต่อยอดสู่ความยั่งยืน" ระหว่างเวลา 11.00 - 12.00 น. โดยมี ว่าที่ ร.ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ บุคลากรสังกัดสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินรายกา... >> อ่านต่อ
ตามที่สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้เชิญชวนคณาจารย์และนักศึกษาส่งข้อเสนอโครงการฯ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ประจำปี 2565 ภายใต้โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ยกกำลัง 2 ปี 2565 ระหว่างวันที่ 1 -30 ธันวาคม พ.ศ.2564 โดยการดำเนินกิจกรรมมุ่งเน้นนำองค์ความรู้การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชนให้สามารถถ่ายทอดไปสู่ชุมชนให้นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และเป็นเวทีคัดเลือกโครงการเพื่อเป็นตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโ... >> อ่านต่อ
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอประชาสัมพันธ์เชิญชวนคณาจารย์และนักศึกษาในสังกัดของท่านส่งข้อเสนอโครงการฯ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ประจำปี 2565 ภายใต้โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ยกกำลัง 2 โดยสามารถส่งข้อเสนอโครงการ หรือเข้าดูรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม https://kaewpanya.rmutl.ac.th/aomsin/ >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมแสดงความยินดีกับ ทีม Nile Creek Rescue ต.สันกลาง อ.พาน จ.เชียงราย นำทีมโดย ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย หัวหน้าโครงการ U2T ตำบลสันกลาง และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ได้รับรางวัลชนะเลิศ U2T National Hackathon 2021 ซึ่งเป็น 1 ใน 5 ทีมชนะเลิศระดับประเทศ การแข่งขัน การระดมสมองประลองไอเดียเพื่อแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ตำบลจากทีมที่ได้รับคัดเลือกทั่วประเทศจำนวน 40 ทีม จากหัวข้อการพัฒนาระบบเติมน้ำอากาศเพื่อแก้ปัญหาปลาน็อคน้... >> อ่านต่อ
ตามที่คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ในองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดโครงการ ประกวดแนวปฏิบัติที่ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (RMUTL Good Practice Award 2021) ระหว่างวันที่ 9 – 13 สิงหาคม พ.ศ.2564 เพื่อเป็นเวทีคุณภาพในการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการนําความรู้ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน ตามตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย และได้จัดการประกวดบทความ ประเภท Popular Vote เพื่อให้ผู้สนใจเข้าร่วมโหวตบทความแนวปฏิบัติที่ดีเผยแพร่ทางออ... >> อ่านต่อ
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ร่วมกับ ส่วนสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวง สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลุ่มผู้ผลิตงานหัตถกรรมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนในงานพาณิชย์เชิงอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง (1) การตลาดออนไลน์ ด้านงานหัตถกรรมของมูลนิธิโครงการหลวง และ (2) การสร้าง Content สร้างมูลค่าและสร้างยอดขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ การถ่ายภาพและการจัดวางผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างช่องทางการขายให้เข้... >> อ่านต่อ
วารสารวิชาการรับใช้สังคม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ การจัดการศึกษาวิถีใหม่ภายใต้สถานการณ์วิกฤติโควิด-19 โดยการบูรณาการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี การพัฒนาระบบการให้น้ำพืชสำหรับพื้นที่ขาดแคลนน้ำ กรณีศึกษา บ้านแม่ขี้มูก ตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ กระบวนการมีส่วนร่วมสร้างการผลิตทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) ของผลผลิตสับปะรดในตำบลบ้านสา อำเภอแจ้ห่ม ... >> อ่านต่อ
คลังความรู้ชุมชน ปิดให้บริการวันที่ 22 - 31 กรกฎาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัส Covid-19 แต่ยังสามารถอ่านหนังสือออนไลน์ได้ที่ https://cttc.rmutl.ac.th/page/knowledge-services >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา