วันที่ 31 มี.ค 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา จัดงานการประชุมวิชาการนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 3 The Virtual International Conference on Science and Agricultural Technology for students (VICSAT 2023) ผ่านระบบ Zoom Meeting โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร วิทยาคุณ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ประธานจัดงาน กล่าวรายงานและต้อนรับผู้ร่วมประชุม และได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์ รองอธ... >> อ่านต่อ
วันที่ 6 มีนาคม 2566 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร จัดโครงการแคมป์ผู้ประกอบการเพื่อสร้างทักษะและบ่มเพาะความเป็นผู้ประกอบการทางการเกษตรรุ่นใหม่แก่นักศึกษา SAT young entrepreneur โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร วิทยาคุณ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดโครงการ และได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและกิจการนักศึกษา เป็นประธานในการเปิด โดยกิจกรรมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 - 6 มีนาคม 2566 ณ โรงแรมดอนจั่น แกรนด์ เชียงใหม่ ... >> อ่านต่อ
วันที่ 2 ก.พ. 66 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ ทัศนอุดม อาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร ประธานหน่วยวิจัยและพัฒนาความเป็นเลิศทางนวัตกรรมอาหารสำหรับผู้ประกอบการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พร้อมด้วย ดร.พยุงศักดิ์ มะโนชัย อาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร และนักวิจัย เข้าร่วมจัดแสดงผลงานตลาดสินค้าและนวัตกรรม ในงานวันนักประดิษฐ์ 2566 Thailand Inventors’Day 2023 โดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2566 ณ Event Hall 100-102 ศูนย์นิทร... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวิชช์ ธนะศานวรคุณ รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พร้อมด้วย ดร.สุบิน ใจทา ดร.ภัทรานิษฐ์ ดำรงค์โรจน์ธนัท อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ เป็นวิทยากรในการอบรมเชิงปฎิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ และวิชาเคมี เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจด้านฟิสิกส์ และเคมี รวมถึงการบูรณาการงานบริการวิชาการเข้ากับการเรียนการสอน แก่นักเรียนโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม ในระหว่างวันที่ 8-9 ธันวาคม 2565 ณ ห้องทดล... >> อ่านต่อ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอเชิญส่งบทความและร่วมงาน The Virtual International Conference on Science and Agricultural Technology for students 2023 ในวันที่ 31 มีนาคม 2566 โดยมีรายละเอียดการจัดส่งดังนี้ การส่งบทคัดย่อและการนำเสนอ (ตัวเลือกที่ 1... >> อ่านต่อ
เมื่อเร็วๆนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ หัวหน้าสาขาสัตวศาสตร์และประมง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน พร้อมด้วยทีมคณะนักวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติรัตน์ ปั้นบำรุงกิจ ลงพื้นที่ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในโครงการ ทัศนศึกษาระหว่างประเทศเสมือนจริงเพื่อใช้ในการเรียนการสอนภูมิศาสตร์ (Virtual Overseas Field Trips for Geography Teaching and Learning) ในหัวข้อ “การท่องเที่ยวโดยชุม... >> อ่านต่อ
วันที่ 16 กรกฏาคม 2565 ศูนย์ความเป็นเลิศทางนวัตกรรมอาหารสำหรับผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนนา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ ทัศนอุดม ผู้อำนวยการศูนย์ และทีมวิจัย จัดอบรมโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตของชุมชนบนพื้นที่สูงหรือชุมชนโดยรอบมูลนิธิโครงการหลวงผาตั้ง ณ บ้านผาตั้ง อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย โดยมีกิจกรรมอบรมการสอนให้ความรู้ในการแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตของชุมชนบ้านผาตั้ง การฝึกอบรมการตรวจ... >> อ่านต่อ
วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 สาขาวิทยาศาสตร์ เชียงราย นำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์มานัส แสวงงาม และคณาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ ให้การต้อนรับ เนื่องในโอกาสคณะผู้บริหารตรวจเยี่ยมและถ่ายทอดนโยบายแผนงาน พร้อมเปิดรับฟังความคิดเห็นในการพัฒนาคณะ ภายหลังจากเสร็จสิ้นการประชุม รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร วิทยาคุณ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร พร้อมด้วยคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ สาขาวิทยาศาสตร์ เชียงราย ร่วมถวายเทียนพรรษา ประจำปี 2565 ณ สำนักสงฆ์ทิพย์วารี บรรพต ตำบลทร... >> อ่านต่อ
วันที่ 14 มิถุนายน 2565 เวลา 10.00 น. ดร.สุรพล ใจวงศ์ษา หัวหน้าโครงการฯ หน่วยวิจัยและพัฒนาด้านการบริหารเทคโนโลยีฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร นำคณาจารย์ นักศึกษา จาก Fukui University of Technology ประเทศญี่ปุ่น และตัวแทนจากสมาคมหัตถศิลป์ล้านนา ซึ่งเป็นผู้ร่วมกิจกรรม Koyori2022 ภายใต้โครงการ การยกระดับผลิตภัณฑ์หัตถกรรมชุมชนในภาคเหนือตอนบนด้วยนวัตกรรมสร้างสรรค์และทุนทางวัฒนธรรมและทรัพยากรท้องถิ่นสู่การพัฒนาเศรษ... >> อ่านต่อ
โอกาสสำหรับ SMEs ด้านอาหาร พบกับหลักสูตร "การพัฒนาผู้ประกอบการรายย่อยสู่การเรียนรู้เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์อาหารสร้างสรรค์ที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์" โดยความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ดำเนินกิจกรรมโดยทีมงาน KX Build หากท่านเป็นผู้ประกอบการ หรือต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารของตนเอง เพื่อเข้าสู่ตลาดที่เหมาะสม ภายใน 7 เดือน ของการเรียนผ่าน... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา