โลโก้เว็บไซต์ บันทึกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มทร.ล้านนา ประจำปี 2566 ด้านการวิจัย | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

บันทึกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มทร.ล้านนา ประจำปี 2566 ด้านการวิจัย

เผยแพร่เมื่อ : ศุกร์ 14 กรกฎาคม 2566 โดย รัตนาภรณ์ สารภี จำนวนผู้เข้าชม 5467 คน

ยังไม่มีคะแนนสำหรับบทความนี้ ผู้อ่านสามารถให้คะแนนบทความได้จากปุ่มข้างใต้

 

บันทึกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มทร.ล้านนา ประจำปี 2566 ด้านการวิจัย หัวข้อ "การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม" วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566  เวลา 13.00 - 16.00 น. ผ่านทางโปรแกรม Microsoft Teams


ดูกิจกรรมย้อนหลัง ที่ URL  RMUTL KM Channel

 

หรือ ดูแยกรายตอน ดังนี้

 

พิธีเปิดกิจกรรม RMUTL KM Cop ด้านการการวิจัย ประจำปี 2566

ผศ.ดร.สุรีวรรณ ราชสม รองผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม,
รศ.ดร.อุเทน คำน่าน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และพัฒนาระบบอย่างยั่งยืน เป็นประธานกล่าวเปิดกิจกรรม

แนะนำกิจกรรม RMUTL KM CoP ด้านการการวิจัย ประจำปี 2566 

โดย ว่าที่ ร.ต. รัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ กรรมการและเลขานุการ กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วม และแนะนำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มทร.ล้านนา ประจำปี 2566 ด้านการการวิจัย  หัวข้อ "การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม" วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566  เวลา 13.00 - 16.00 น. 

แนะนำวิทยากรประจำ CoP ด้านการการวิจัย ประจำปี 2566 ได้แก่

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ว่าที่ รต. ทนงศักดิ์  สัสดีแพง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา ลำปาง
  • นางสาวรัชนีกร แรงขิง กองการศึกษา มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • นางสาวอารีวัณย์ อรุณสิทธิ์ สำนักงานบริหารทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ มทร.ล้านนา เชียงใหม่;

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัย

การจัดการทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร? และมหาวิทยาลัยมีนโยบายหรือวิธีบริหารจัดการโดยสำนักงานบริหารทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์อย่างไรบ้าง? ... เล่าเรื่องจากประสบการณ์ทำงาน โดย นางสาวอารีวัณย์ อรุณสิทธิ์ สำนักงานบริหารทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ มทร.ล้านนา เชียงใหม่

 เอกสารประกอบ

จากงานวิจัยสู่สิทธิบัตร ... ตัวชี้วัด สิทธิบัตร และงานสร้างสรรค์

... เล่าเรื่องจากประสบการณ์การจดสิทธิบัตร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ว่าที่ รต. ทนงศักดิ์  สัสดีแพง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา ลำปาง

 เอกสารประกอบ

บทบาทการขับเคลื่อน ทรัพย์สินทางปัญญา ของหน่วยงานระดับพื้นที่

บทบาทการขับเคลื่อน ทรัพย์สินทางปัญญา ของหน่วยงานสายสนับสนุนในเขตพื้นที่  ... เล่าเรื่องจากประสบการณ์วิธีการดำเนินงานสนับสนุนงานทรัพย์สินทางปัญญาในระดับพื้นที่ โดย นางสาวรัชนีกร  แรงขิง กองการศึกษา มทร.ล้านนา พิษณุโลก

การดำเนินงาน 3 มิติ สร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมและผลักดันให้บุคลากรจดทรัพย์สินทางปัญญา

... เล่าเรื่องจากประสบการณ์ในการดำเนินงานสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมและผลักดันให้บุคลากรจดทรัพย์สินทางปัญญา ภายในมหาวิทยาลัย แบ่งเป็น 3 มิติ ได้แก่

  1. มิติหน่วยงานระดับมหาวิทยาลัย โดย นางสาวอารีวัณย์ อรุณสิทธิ์;
  2. มิติหน่วยงานในระดับพื้นที่ โดย นางสาวรัชนีกร แรงขิง;
  3. มิติบทบาทของผู้บริหาร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ว่าที่ รต. ทนงศักดิ์  สัสดีแพง

Q&A แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน ด้านการวิจัย ประจำปี 2566

ร่วมไขปัญหาการจดสิทธิบัตรทรัพย์สินทางปัญญาของบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ว่าที่ รต. ทนงศักดิ์ สัสดีแพง, นางสาวอารีวัณย์ อรุณสิทธิ์ และ รศ.ดร.อุเทน คำน่าน

สิ่งที่ฝากถึงมหาวิทยาลัยด้านทรัพย์สินทางปัญญา

สิ่งที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยรับทราบหรือฝากไว้เป็นแนวทางเสริมในการกำหนดทิศทางของใหาวิทยาลัยต่อไป ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานการด้านการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัย 

พิธีปิดกิจกรรม RMUTL KM Cop ด้านการการวิจัย ประจำปี 2566

ผศ.ดร.สุรีวรรณ ราชสม รองผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน กล่าวสรุปผลการจัดกิจกรรม;
รศ.ดร.อุเทน คำน่าน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และพัฒนาระบบอย่างยั่งยืน เป็นประธานกล่าวปิดกิจกรรม

 

 

...

 






ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

Facebook Messenger icon