การดำเนินงานโครงการ Pre-Talent Mobility ประจำปี 2566 https://heyzine.com/flip-book/dea009ddc7.html >> อ่านต่อ
วันที่ 19-20 ตุลาคม 2566 นักวิจัย มทร.ล้านนาจำนวน 19 คน ที่ผ่านการคัดเลือกการอบรมผู้เชี่ยวชาญ TM Track2 พร้อมทั้งกลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU นำโดย ผศ.ว่าที่ร้อยโทสุรพิน พรมแดน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU พร้อมคณะ ได้เข้าร่วมอบรมกิจกรรมอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญของสถาบันอุดมศึกษารองรับการเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (TM2023 - Track 2.1) เพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ ภายใต้โครงการ Talent Mobility ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ... >> อ่านต่อ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ขอเรียนเชิญนักวิจัย มทร.ล้านนา ที่สนใจโครงการ Talent Mobility รูปแบบใหม่ ประจำปี 2566 ทำแบบสำรวจความพร้อมของสถานประกอบการและนักวิจัยในการเข้าร่วม โครงการ Talent Mobility รูปแบบใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2566 มทร.ล้านนา Track 1 การเคลื่อนย้ายบุคลากรด้านการวิจัยเพื่อติดตั้งเทคโนโลยีในสถานประกอบการ(Talent Mobility for SME’s Technology Installation) (peace sign) Track 2.1 การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านก... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 9.00 น. สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) นำโดย นายศิรัสก์ ศิริสวัสดิ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ, นายบัญชา ชลพิทักษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน และนายวิทยา กันยามา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ได้ลงพื้นที่เข้าร่วมประชุมรายงานผลการดำเนินงาน โครงการการเคลื่อนย้ายบุคลากรวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรมผ่านกลไก... >> อ่านต่อ
วันที่ 27 ตุลาคม 2565 มทร.ล้านนา นำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยโทสุรพินพรมแดน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU และคณะ ได้ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานภายใต้โครงการเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรม ผ่านกลไก Pre-Talent Mobility ประจำปีงบประมาณ 2565 1.โครงการ "แนวทางการยกระดับอุตสาหกรรมผลไม้แปรรูปมาตรฐาน GMP กรณีศึกษา:บริษัทบ้านผลไม้ (ประเทศไทย)จำกัด" โดย นางสาวอมรรัตน์ ปิ่นชัยมูล หัวหน้าโครงการ >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา